รสไทย(ไม่)แท้: ถอดรูปทิพย์อาหารไทยในสนามการเมืองวัฒนธรรม
(By อาสา คำภา) Read EbookSize | 27 MB (27,086 KB) |
---|---|
Format | |
Downloaded | 668 times |
Last checked | 14 Hour ago! |
Author | อาสา คำภา |
อาหารที่ “ดี” เป็นแบบไหน?
รสชาติที่ “ถูกต้อง” เป็นอย่างไร?
อาหารไทย “แท้ๆ” มีอยู่จริงหรือไม่?
เราขอชวนให้ลอง “ชิม” ด้วยตัวเอง
๑ มีอะไรซ่อนอยู่ในอาหาร?: ทำความเข้าใจ “อาหารไทย” ผ่านมุมมอง “การเมืองวัฒนธรรม”
๒ จาก“แม่ครัวหัวป่าก์” ถึง “รสไทยแท้”: กระแสการช่วงชิงนิยามอาหารไทยในบริบทร่วมสมัย
-แม่ครัวหัวป่าก์: จุดกำเนิดตำราอาหารไทยตามมาตรฐานฝรั่ง จาก “แท้จริง” และ “ไม่มีจริง” สู่อาหารไทยนอกกรอบจินตนาการ
-แบบไหนคือไทยแท้? อาหารไทยในภาพยนตร์ “พริกแกง” กับวัฒนธรรม “แกงสำรวม”
-“Thai Select Unique” เมื่อรัฐสร้ำงตัวตนให้ “รสชาติไทยแท้”
๓ อาหารไทยภายใต้สนามแห่งการช่วงชิงนิยาม: เส้นทางและตัวแสดงผู้กำหนดนิยามอาหารไท
-อาหารไทยโดยคนชั้นสูง: จากอัตลักษณ์ชนชั้น ถึง “อำนาจนำ” ในฐานะอาหารตัวแทน “ความเป็นไทย”
-อุดมการณ์ชาติพันธุ์ไทย-การเมืองวัฒนธรรมในอาหาร
• หอเจี๊ยะตึ๊ง: เมื่ออาหารจีน “สังสันทน์” กับสำรับไทย
• แซบอีหลี: อาหารอีสานและความเป็นอื่นในรสอร่อย
-การกำหนดนิยามอาหาร “ที่ดี” โดย “รัฐ” หลังการปฏิวัติ ๒๔๗๕
-เมื่อ “ทุน” พลิก “ลิ้น”: ทุนนิยมกับรสลิ้นที่เปลี่ยนไป จาก “เชลล์ชวนชิม” ถึง “Wongnai” ที่ ใครๆ ก็สามารถชวนชิม
๔ ถอดรูปทิพย์: อาหารไทยร่วมสมัยกับการผสานรวม เปลี่ยนร่างแปลงกายและสิ่งแสดงตัวตน
-อาหารไทย ใครนิยาม?
-หรือ...อาหารไทยร่วมสมัยคือการเปลี่ยนร่างแปลงกายของตัวตน”